จำนวนการดูหน้าเว็บรวม (เริ่มนับ พฤศจิกายน 2553)

วันพุธที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2557

ประชุมประจำเดือนมกราคม 2557

ประชุมประจำเดือนมกราคม 2557
สถานที่ประชุม สสอ.พังโคน
เริ่มประชุมเวลา 14.00 น.

KPI Template NCD 2557เครือข่าย 8

                                                KPI  Template

ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ1
ร้อยละประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
คำนิยาม
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน หมายถึง การเฝ้าระวัง
และคัดกรองโรคเบาหวานโดยอาสาสมัครสาธารณสุขสำรวจ ค้นหา และจัดทำทะเบียน
ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปในละแวกคุ้มครัวเรือนที่ตนเองรับผิดชอบ พร้อมทั้งจัดทำ
ทะเบียนและจดบันทึกไว้ในสมุดปฏิบัติงานเพื่อเป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ
และโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน รายละเอียดดังนี้
   1. การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชน
       จัดกิจกรรมประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้น โดยใช้แบบสอบถามด้วยวาจาเพื่อคัดกรอง และสอบถามเบื้องต้นใน 7 ประเด็น ได้แก่
        1.1 การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ และการใช้สารเสพติด
        1.2 การดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง
        1.3 การออกกำลังกาย
        1.4 ความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจร
        1.5 การใช้ยาชุด
        1.6 สุขภาพจิต
        1.7 การรับประทานอาหาร (สุก ๆ ดิบ ๆ  รสเค็ม รสหวาน)
  2. การเฝ้าระวังโรคเบาหวาน ในชุมชนร่วมกับสถานบริการ
     การคัดกรองโรคเบาหวาน ซักถามโอกาสเสี่ยงด้วยแบบคัดกรองเบาหวานเบื้องต้น
     กลุ่มประชาชนอายุ 15 – 34 ปี  มีข้อคำถามปัจจัยเสี่ยง 5  ข้อ ได้แก่
       1) ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) > 27 กิโลกรัม/ตารางเมตร
          และ/หรือรอบเอว >  90 ซม. ในผู้ชาย หรือ >  80 ซม. ในผู้หญิง
          การปฏิบัติ : ชั่งน้ำหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) วัดส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) วัด
          รอบเอว (หน่วยเป็นเซนติเมตร) คำนวณดัชนีมวลกายโดยใช้ข้อมูลเรื่องน้ำหนัก
          (กิโลกรัม) หารด้วย ความสูง (เมตร) 2 ครั้ง
      2) มีประวัติญาติสายตรง พ่อ แม่ พี่  น้อง เป็นโรคเบาหวาน
      3) มีรอยพับรอบคอหรือใต้รักแร้ดำ
      4) มีระดับความดันโลหิตสูง > 140/90 mmHg
      5) กรณีมีประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตรที่มีน้ำหนักตัว
         แรกคลอด > 4 กิโลกรัม
      เมื่อพบปัจจัยเสี่ยง 3 ข้อขึ้นไป หรือเพียงข้อ 5 ข้อเดียว ให้แจ้งกลุ่มเป้าหมายทราบ และส่งต่อเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจน้ำตาลในเลือดทุกราย



ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ
ร้อยละประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน (ต่อ)

  ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (ไม่รวมหญิงตั้งครรภ์)
  1. ดำเนินการวัดรอบพุงหรือรอบเอวทุกราย
  2. ส่งเจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ (Fasting capillary blood glucose) เพื่อตรวจหา
     ระดับน้ำตาลในเลือดทุกราย
เกณฑ์เป้าหมาย
มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 95
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในพื้นที่รับผิดชอบ (ที่อยู่จริงใน Type Area 1 และ 3)
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม
แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รายการข้อมูล 1
A : จำนวนประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และ
     โรคความดันโลหิตสูง
รายการข้อมูล 2
B : จำนวนประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด
     (ที่อยู่จริงใน Type Area 1 และ 3)
สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100  (คำนวณแยกตามรายโรค)
ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com


ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ2
ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน ป่วยเป็นโรคเบาหวาน
คำนิยาม
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน ป่วยเป็นโรคเบาหวาน   หมายถึง จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขี้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน (Pre–diabetes,FCG/FPG 100-125 mg/dl) ปีที่ผ่านมา (ในปี 2556)  และได้รับการคัดกรองเบาหวาน ในปี 2557 แล้วพบว่าป่วยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ (FCG/FPG >126 mg/dl) (วินิจฉัยโดยแพทย์)
เกณฑ์เป้าหมาย
น้อยกว่าร้อยละ 5
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน (Pre - diabetes, FCG/FPG
100-125 mg/dl) ปีที่ผ่านมา (ในปี 2556)
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม
แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขี้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน
       (Pre-diabetes, FCG/FPG 100-125 mg/dl) ในปี 2556  และได้รับการคัดกรอง
       เบาหวาน ในปี 2557 แล้วพบว่าป่วยเป็นโรคเบาหวาน (FCG/FPG >126 mg/dl)
       ทั้งหมด (วินิจฉัยโดยแพทย์)
รายการข้อมูล 2
 B  = จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน
        (Pre-diabetes, FCG/FPG >126 mg/dl) ในปี 2556 ทั้งหมด
สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100
ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com


ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ3
ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
คำนิยาม
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง   หมายถึง จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขี้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง (Pre– hypertension มีค่า BP 120 -139 /80 - 89mm.Hg)  ในปี 2556  และได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ในปี 2557 แล้วพบว่าป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง (BP > 140/90 mmHg.) รายใหม่ในปี (วินิจฉัยโดยแพทย์)
เกณฑ์เป้าหมาย
น้อยกว่าร้อยละ 10
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง (Pre– hypertension
มีค่า BP 120 -139 /80 - 89mm.Hg) ปีที่ผ่านมา (ในปี 2556) 
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม
แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขี้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง (Pre–
       hypertension มีค่า BP 120 -139 /80 - 89mm.Hg)  ในปี 2556  และได้รับ
       การคัดกรองความดันโลหิตสูง ในปี 2557 แล้วพบว่าป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
       (BP > 140/90 mmHg.) รายใหม่ในปี (วินิจฉัยโดยแพทย์)
รายการข้อมูล 2
 B  = จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง
        (Pre–hypertension มีค่า BP 120 -139 /80 - 89mm.Hg) ในปี 2556 ทั้งหมด
สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100
ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com


ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ4
ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่ในปี
คำนิยาม
ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ในปี หมายถึง จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขี้นไป ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ในปี 2557 แล้วพบว่าป่วยเป็นโรคเบาหวาน (FCG/FPG >126 mg/dl) รายใหม่ในปี (วินิจฉัยโดยแพทย์)
เกณฑ์เป้าหมาย
น้อยกว่าร้อยละ 4
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในพื้นที่รับผิดชอบ (ที่อยู่จริงใน Type Area 1 และ 3)
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม
แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขี้นไป ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ในปี 2557
       แล้วพบว่าป่วยเป็นโรคเบาหวาน (FCG/FPG >126 mg/dl) รายใหม่ในปีทั้งหมด
       (วินิจฉัยโดยแพทย์) 
รายการข้อมูล 2
 B  = จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานทั้งหมด
สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100
ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com


ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ5
ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในปี
คำนิยาม
ผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในปี หมายถึง จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขี้นไป ที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ในปี 2557  แล้วพบว่าป่วยเป็นโรค
ความดันโลหิตสูงรายใหม่ในปี (BP > 140/90 mmHg.) (วินิจฉัยโดยแพทย์)
เกณฑ์เป้าหมาย
น้อยกว่าร้อยละ 8
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในพื้นที่รับผิดชอบ (ที่อยู่จริงใน Type Area 1 และ 3)
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม
แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขี้นไป ที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
        ในปี 2557  แล้วพบว่าป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ในปีทั้งหมด
        (BP > 140/90 mmHg.)  (วินิจฉัยโดยแพทย์) 
รายการข้อมูล 2
 B  = จำนวนประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง
        ทั้งหมด
สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100
ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067  โทรสาร  0 4241 2650
   E-mail : yoljit@hotmail.com


ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ6
ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจค้นหาภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และฟัน
คำนิยาม
ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจค้นหาภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และฟัน
หมายถึง ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์อย่างน้อยปีละครั้ง
ดังนี้
   1. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา (ตรวจจอประสาทตา) โดยจักษุแพทย์
      หรือโดยวิธีใช้กล้องถ่ายภาพจอประสาทตา โดยพยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมการ
      ใช้กล้องถ่ายภาพจอประสาทตาแล้ว ซึ่งมีคำแนะนำในการตรวจคัดกรองและติดตาม
      คือ ในรายที่ยังไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางตา นัดตรวจตาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ในราย
      ที่พบผิดปกติระยะเล็กน้อย นัดพบจักษุแพทย์เพื่อตรวจติดตามทุก 6 เดือน ผิดปกติ
      ระยะปานกลาง นัดพบจักษุแพทย์เพื่อตรวจติดตามทุก 3 เดือน และระยะรุนแรงให้
      การรักษาทันที
   2. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต โดยการตรวจโปรตีนในปัสสาวะ ร่วมกับ
      การตรวจเลือดวัดค่าซีรั่มครีเอตินินและคำนวณค่าการทำงานของไต (eGFR)      
   3. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนที่เท้า (ตรวจระบบประสาทรับความรู้สึก)
   4. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางช่องปาก
เกณฑ์เป้าหมาย
ตา, ไต, เท้า, ฟัน   มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 65
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม
แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา, ไต, เท้า, ฟัน
       และพบมีภาวะแทรกซ้อนทางตา, ไต, เท้า, ฟัน
รายการข้อมูล 2
 B  = จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทั้งหมด
สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100  (โดยการคำนวณแยกภาวะแทรกซ้อนแต่ละประเภท)
ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com


ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ7
ร้อยละผู้ป่วยโรความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจค้นหาภาวะแทรกซ้อนทางไต
คำนิยาม
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจค้นหาภาวะแทรกซ้อนทางไต
หมายถึง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต โดยการตรวจโปรตีนในปัสสาวะ ร่วมกับการตรวจเลือดวัดค่าซีรั่มครีเอตินินและคำนวณค่าการทำงานของไต (eGFR)  ตามเกณฑ์อย่างน้อยปีละครั้ง  

เกณฑ์เป้าหมาย
มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 65

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบ
ทั้งหมด
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม

แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ

รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต และ
       พบมีภาวะแทรกซ้อนทางไตทั้งหมด
รายการข้อมูล 2
B  = จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทั้งหมด

สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100 

ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com

ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ8
ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรความดันโลหิตสูงที่พบภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแล
หรือส่งต่อรักษา
คำนิยาม
ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่พบภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแล
หรือส่งต่อรักษา หมายถึง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่พบภาวะ
แทรกซ้อน ได้รับการดูแลหรือส่งต่อรักษาโดยแพทย์อายุรแพทย์ แพทย์เฉพาะทาง จนกระทั่งส่งตัวกลับเพื่อติดตามดูแลต่อเนื่องที่บ้าน

เกณฑ์เป้าหมาย
ร้อยละ 100

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด

วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม

แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ

รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่พบมีภาวะแทรกซ้อนได้รับ
       การดูแลหรือส่งต่อรักษาทั้งหมด
รายการข้อมูล 2
B  = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่พบมีภาวะแทรกซ้อนทั้งหมด

สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100  (โดยการคำนวณแยกรายโรค)

ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456 -65  โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 34013937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com

ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ9
ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงโรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง(อัมพฤกษ์ อัมพาต) คัดกรองภาวะซึมเศร้า การประเมินความเครียด
และการติดสุรา
คำนิยาม
ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงโรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง(อัมพฤกษ์ อัมพาต) คัดกรองภาวะซึมเศร้า การประเมินความเครียด และการติดสุรา หมายถึง ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการประเมินปัจจัยโอกาสเป็นโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง(อัมพฤกษ์ อัมพาต) คัดกรองภาวะซึมเศร้า การประเมินความเครียด และการติดสุรา โดยใช้แบบประเมิน ดังนี้
   1. แบบประเมินปัจจัยโอกาสเสี่ยงเป็นโรคหัวใจ (RAMA EGAT Heart Score)
   2. แบบประเมินปัจจัยโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต)
   3. แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2Q  และ 9Q)
   4. แบบประเมินความเครียดและการติดสุรา
เกณฑ์เป้าหมาย
ร้อยละ 100
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทุกราย
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แฟ้มรายงาน 21 แฟ้ม และ 43 แฟ้ม
แบบสรุปผลการประเมินปัจจัยโอกาสเป็นโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง ภาวะซึมเศร้า (2Q  และ 9Q) และแบบสรุปประเมินความเครียดและการติดสุรา (Paper)
แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง
        โรคหัวใจโรคหลอดเลือดสมอง(อัมพฤกษ์ อัมพาต) คัดกรองภาวะซึมเศร้า การ
        ประเมินความเครียด และการติดสุราทั้งหมด
รายการข้อมูล 2
B  = จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด
สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100  (โดยการคำนวณแยกรายโรค)
ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 3401 3937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456 - 65  โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 3401 3937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 3456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com

ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ10
ร้อยละหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดีมาก
คำนิยาม
หมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หมายถึง หมู่บ้าน/
ชุมชน ที่มีการจัดระบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง โรคมะเร็งโรคหัวใจและหลอดเลือดในชุมชน โดยใช้เทคโนโลยีบุคลากร
และทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาจัดกระบวนการสร้างความเข้าใจและสร้างการมีส่วนร่วม
และความร่วมมือจากภาคีทุกภาคส่วนในตำบลมีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)
เป็นเครื่องมือในการบริหารการเปลี่ยนแปลงและจัดทำแผนสุขภาพตำบลที่มีความ-
สัมพันธ์หลายมิตินำสู่การปฏิบัติและก่อให้เกิดนวัตกรรม ทั้งด้านนวัตกรรมกระบวนการ
นวัตกรรมผลผลิต ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดปัจจัยเสี่ยงของคนใน
หมู่บ้าน/ชุมชน ให้บรรลุเป้าหมายไร้พุง/ปลอดเหล้าปลอดบุหรี่ ลดเสี่ยง ลดโรค พร้อมทั้ง
สามารถเป็นต้นแบบ และเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับหมู่บ้าน/ชุมชนอื่นๆ
  เกณฑ์การประเมิน การเป็นหมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  ใช้แบบประเมิน(ตามเกณฑ์การประเมิน PMQA) รายละเอียดตามเอกสารคู่มือการประเมินของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ผลลัพธ์การดำเนินงาน
1. ผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประชาชน
ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป เพศชาย ที่มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม.
ร้อยละ 70 ของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป เพศหญิง ที่มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม.
ร้อยละ 90 ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานตามมาตรฐาน
ร้อยละ 90 ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงตาม
    มาตรฐาน
ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อเบาหวาน(pre-DM) ปี2556 ป่วยเป็นโรคเบาหวานปี 2557
    ไม่เกินร้อยละ 5
กลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง(pre-HT) ปี2556 ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงปี 2557
    ไม่เกินร้อยละ 10
2. มีนวัตกรรมเกิดขึ้นทั้งในเรื่องของนวัตกรรมกระบวนการ หรือนวัตกรรมผลผลิตด้าน
    การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรควิถีชีวิต
3. มีระบบเฝ้าระวังโรควิถีชีวิตของชุมชน
4. หมู่บ้าน /ชุมชน เป็นที่ศึกษาดูงาน /ศูนย์การเรียนรู้ / โรงเรียน อสม. / และมีความ
   พร้อมในการเป็นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน


ตัวชี้วัดบริการเฉพาะ10
ร้อยละหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดีมาก (ต่อ)

   ผลการประเมิน ผลรวมของคะแนนทั้ง 7 ประเด็นหลัก 35 ประเด็นย่อย แบ่งระดับได้ดังนี้
- ระดับ ดีมาก มีค่าคะแนนรวมเท่ากับ 3035 คะแนน
- ระดับ ดี มีค่าคะแนนรวมเท่ากับ 25 - 29 คะแนน
- ระดับ พอใช้ มีค่าคะแนนรวมเท่ากับ 20 - 24 คะแนน
- ระดับ ปรับปรุง มีค่าคะแนนรวมเท่ากับ < 20 คะแนน
เกณฑ์เป้าหมาย
มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
หมู่บ้าน/ชุมชนทุกแห่ง
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
เอกสารคู่มือการประเมินของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขและแบบสรุปผล (Paper)
แหล่งข้อมูล
รพศ., รพท., รพช., รพ.สต., สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รายการข้อมูล 1
A  = จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ผ่าน
       เกณฑ์การประเมินระดับดีมาก
รายการข้อมูล 2
B  = จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งหมด
สูตรคำนวณตัวชี้วัด
(A / B) x 100 
ระยะเวลาประเมิน
ทุก 3 เดือน โดย NCD Board ระดับอำเภอ จังหวัด และเครือข่ายบริการ
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/
ผู้ประสานงานตัวชี้วัด
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 3401 3937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 2456 - 65  โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com
ผู้รายงานผลการดำเนินงาน
1. นายแพทย์พิสิฐ  อินทรวงษ์โชติ   มือถือ 08 3401 3937
   โทรศัพท์สำนักงาน 0 4241 3456-65   โทรสาร 0 4242 1465
   E-mail : sutarut2010@hotmail.com
2. นางสาวยลจิต  บุตรเวทย์   มือถือ 08 9710 2475 โทรศัพท์สำนักงาน 0 4246 5067
   โทรสาร  0 4241 2650   E-mail : yoljit@hotmail.com

ที่มา : งานสร้างเสริมสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ สสจ.สกลนคร
---------